วันเสาร์ที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2557

คันถะ ๔ อย่าง

คันถะ ๔ อย่าง

๑.อภิชฌากายคันถะ [เครื่องรัดกายคืออภิชฌา]
๒. พยาปาทกายคันถะ [เครื่องรัดกายคือพยาบาท] 
๓. สีลัพพตปรามาสกายคันถะ [เครื่องรัดกายคือสีลัพพตปรามาส] 
๔. อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ [เครื่องรัดกายคือความแน่ว่าสิ่งนี้ เป็นจริง] ฯ


พระไตรปิฎก ภาษาไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๑
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓ ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
หน้าที่ ๑๘๙/๒๘๘ข้อที่ ๒๖๐-๒๖๓





อภิชฌา[อะพิดชา] น. ความโลภ ความอยากได้. (ป.).


พยาบาท [พะยาบาด] น. การผูกใจเจ็บคิดจะแก้แค้น การคิดปองร้าย ในคำว่าผูกพยาบาท. ก. ผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น ปองร้าย เช่น อย่าไปพยาบาทเขาเลย. (ป. พฺยาปาท วฺยาปาทส. วฺยาปาท).


สีลัพพตปรามาส (บาลี: สีลพฺพตปรามาส) เป็นศัพท์ในพระไตรปิฎกเถรวาท หมายความถึงความยึดมั่นถือมั่นอยู่ในสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือศีลพรตภายนอกพระพุทธศาสนา หรือความยึดมั่นถือมั่นในการบำเพ็ญเพียงกายและวาจาตามหลักธรรมพระพุทธศาสนา (ศีล) ของตนว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐ ซึ่งเป็นเหตุให้ละเลยการปฏิบัติทางด้านจิตใจหรือการใช้ปัญญาเพื่อหลุดพ้น

อริยสัจ หรือจตุราริยสัจ หรืออริยสัจ 4 เป็นหลักคำสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยะ หรือความจริงที่ทำให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ มีอยู่สี่ประการ คือ





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น